PG 1104 จิตวิทยาความแตกต่างระหว่างบุคคล


ผู้สอน
อาจารย์ สิริกาญจน์ สง่า
เข้าสู่ระบบเมื่อ เกือบ 9 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
PG 1104 จิตวิทยาความแตกต่างระหว่างบุคคล

รหัสวิชา
5413

สถานศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คำอธิบายวิชา

แผนบริการการสอนประจำวิชา

 

รายวิชา  จิตวิทยาความแตกต่างระหว่างบุคคล (Psychology of Individual Differences)              รหัส PG 1104

จำนวนหน่วยกิต-ชั่วโมง  3(3-0)                                                                                                                    ผู้สอน อ.สิริกาญจน์  สง่า

เวลาเรียน  16  สัปดาห์                                                                                                                                      3 ชั่วโมง / สัปดาห์

_____________________________________________________________________________________________

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านต่างๆ  รวมถึงสาเหตุของความแตกต่างและปัญหาที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างระหว่างบุคคล

จุดประสงค์

  1. นักศึกษาสามารถบอกความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิเคราะห์สาเหตุของความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
  2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
  3. นักศึกษาสามารถบอกความสำคัญของการเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลได้

เนื้อหาบทเรียน

บทที่ 1

ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยาความแตกต่างระหว่างบุคคล

 

บทที่ 2

ขอบข่ายของความแตกต่างระหว่างบุคคล

 

บทที่ 3

พื้นฐานทางพันธุกรรมที่มีผลต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล

 

บทที่ 4

ความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านสติปัญญา

 

บทที่ 5

ความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านบุคลิกภาพ ด้านความถนัดและด้านความสนใจ

 

บทที่ 6

ความแตกต่างระหว่างเพศ

 

บทที่ 7

ความแตกต่างระหว่างอายุ

 

บทที่ 8

ความแตกต่างระหว่างชนชั้นทางสังคม

 

บทที่ 9

อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างบุคคล

 

กิจกรรมการเรียนการสอน

  1. บรรยาย
  2. อภิปราย วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น
  3. แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ระหว่างเรียนและท้ายบทเรียน
  4. ศึกษาค้นคว้าจากปัญหาจัดทำรายงานและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
  5. กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมคู่

สื่อประกอบการเรียนการสอน

  1. คอมพิวเตอร์และ PowerPoint  ประกอบคำบรรยาย
  2. แบบฝึกหัดทบทวนความรู้ระหว่างเรียนและหลังเรียน  

การวัดผลและประเมินผล

  1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน                                                   3. การตรวจผลงาน
  2. การสังเกต                                                                                              4. การนำเสนอผลงาน

รายการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน

  1. คะแนนสอบกลางภาค                                                                          30 %
  2. คะแนนสอบปลายภาค                                                                          30 %
  3. คะแนนระหว่างภาค                                                                              40 %
  4. คะแนนกิจกรรม/การนำเสนอ                                      (10%)                                                     
  5. คะแนนรายงาน                                                              (10%)
  6. คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด                                      (10%)
  7. คะแนนความสนใจและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม   (10%)

 

เกณฑ์การประเมินผลการเรียน

 

ระดับคะแนน

ความหมาย

ค่าระดับคะแนน

ช่วงคะแนน

 

ระดับคะแนน

ความหมาย

ค่าระดับคะแนน

ช่วงคะแนน

A

ดีเยี่ยม

4.0

80 - 100

 

C

พอใช้

2.0

60 - 64

B+

ดีมาก

3.5

75 - 79

 

D+

อ่อน

1.5

55 - 59

B

ดี

3.0

70 - 74

 

D

อ่อนมาก

1.0

50 - 54

C+

ดีพอใช้

2.5

65 - 69

 

E

ตก

0

0 - 49

 

ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books