النحو By Slovanof 69


ผู้สอน
Kitti Pakdeechareon
เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 6 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
النحو By Slovanof 69

รหัสวิชา
26950

สถานศึกษา
โรงเรียนอัซ-ซิกรอ

คำอธิบายวิชา

เสริมทักษะวิชานาฮูในชั้นปี 3 เอี๊ยะดาดีย์

คำมับนีย์

الإسم المبني وهو الفرع وهو ما لا يتغير آخره بسبب العوامل الداخلة عليه كالمضمرات وأسماء الشرط والإشارة وأسماء الموصولات، فمنه ما يبنى على الفتح كأينَ، ومنه ما يبنى على الكسر كأمسِ، ومنه ما يبنى على الضم كحيثُ، والأصل في المبني أن يبنى على السكون

คำนาม มับนีย์ ซึ่งถือเป็นแขนงของคำนาม ได้แก่คำนามที่คงรูปท้ายคำ แม้จะมีคำบังคับเข้าที่หน้าคำก็ตาม เช่น คำนามฎอแมร คำนามชารัต คำนามอิชารัต คำนามเมาซูล ซึ่งส่วนหนึงจากคำนามมับนีย์จะคงรูปด้วยสระฟัตตะห์ เช่น اينَ และบางส่วนจะคงรูปด้วยสระ กัซเราะห์ เช่น أمسِ และคงรูปด้วย ฎ็อมมะห์ เช่น حيثُ และสำหรับรากฐานเดิมของคำนามมับนีย์นั้น คือการคงรูปด้วยสระ สุกูน

والفعل ضربان: مبنى وهو الأصل ومعرب وهو الفرع، والمبني نوعان أحدهما: الفعل الماضي وبناؤه على الفتح إلا إذا اتصلت به واو الجماعة فيضم نحو: ضربوا، أو اتصل به ضمير رفع متحرك فيسكن نحو: ضربْتُ وضربْنا،
والثاني: فعل الأمر وبناؤه على السكون نحو: اضرب واضربن إلا إذا اتصل به ضمير تثنية أو ضمير جمع أو ضمير المؤنثة المخاطبة فعلى حذف النون نحو: اضربا واضربوا واضربي، إلا المعتل فعلى حذف حرف العلة نحوك اخشَ واغزُ وارم ِ.

สำหรับคำกริยานั้น ได้แบ่งเป็น 2 ประเภทเช่นกัน ได้แก่
1. คำกริยามับนีย์ ซึ่งถือเป็นรากฐานของคำกริยา ได้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
- คำกริยา ماضي ซึ่งจะคงรูปด้วยสระ فتح เว้นแต่ เมื่อมีการเชื่อมต่อที่ท้ายคำด้วย อักษร واو الجمع
ซึ่งจะทำให้อ่านด้วยสระ ضمة เช่น ضربُوا หรือ เชื่อมต่อท้ายคำด้วย ضمير رفع ที่มีสระ ก็จะทำให้อ่านด้วยสระ سكون เช่น ضربْتُ หรือ ضربنْا 
- คำกริยา امر ซึ่งจะคงรูปด้วยสระ سكون เช่น اضربْ หรือ اضربْن เว้นแต่เมื่อไหร่ก็ตามมี
ضمير تثنية
ضمير جمع 
ضمير اموءنثة المخطبة
ต่อที่ท้ายคำ ก็ให้ตัดอักษร نون ที่ท้ายคำนั้นออก เช่น اضربا ( เดิมคือ يضربان ) , หรือ اضربوا ( เดิมคือ يضربون ) ,หรือ اضربي ( เดิมคือ يضربين ) 
และถ้าที่คำนั้น เป็น فعل المعتل ก็ให้ตัด حرف المعتل ออก เช่น اخشٓ ( เดิมคือ يخشى ) หรือ اغزُ ( เดิมคือ يغزو ) หรือ ارمِ ( เดิมคือ يرمي )
والعرب من الأفعال الفعل المضارع بشرط ألا يتصل به نون الإناث ولا نون التوكيد المباشرة نحو: يضربُ ويخشَى، فإن اتصلت به نون الإناث بني على السكون نحو: {وَالْوَالِدَاتُ يُرْضِعْنَ} (233) سورة البقرة؛ وإن اتصل به نون التوكيد المباشرة بني على الفتح نحو: ليسجن وليكونن، وإنما أعرب المضارع لمشابهته الاسم. وأما الحروف فمبنية كلها
สำหรับ فعل مضارع นั้นจะ มัวะรอบ โดยมีเงื่อนไขคือ ต้องไม่มี อักษร نون الإناث ( นูน บ่งชี้ถึงเพศหญิง เช่น يضربْنَ) และ نون التوكيد المباشرة มาเชื่อมต่อที่ท้ายคำ เช่น يضربُ يخشَى 
แต่ถ้าหาก(มุกอเบล จากคำว่าไม่ได้เชื่อมต่อ )มีการเชื่อมต่อด้วย نون الإناث ต้องอ่านมับนีย ด้วยสระสุกูน 
เช่น {وَالْوَالِدَاتُ يُرْضِعْنَ} (233) سورة البقرة
หรือถ้าหากเชื่อมต่อด้วย نون التوكيد المباشرة ต้องอ่านมับนีย์ ด้วยสระ ฟัตตะห์ เช่น لَيُسْجَنَنَّ وليكونَنَّ(ทั้ง นูนเตากีด ซะกิละห์ และ คอฟีฟะห์)
สำหรับ فعل مضارع จะเอียะรอบ เช่นเดียวกับ คำนาม ( คือ มีการอ่านที่ท้ายคำด้วย บรรดาสระ คือ ฟัตตะห์ ฎอมมะหห์ และ สุกูน )
ส่วน حرف นั้น จะเป็นคำ มับนีย์ เสมอ



ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books