เคมี 1


ผู้สอน
นางสาว รุ่งทิวา การะกุล
เข้าสู่ระบบเมื่อ เกือบ 12 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
เคมี 1

รหัสวิชา
3859

สถานศึกษา
โรงเรียนพุดซาพิทยาคม

คำอธิบายวิชา

วิชา เคมี 1 รหัส ว30221 จำนวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง

เนื้อหา ประกอบด้วย

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจำลองอะตอม
     1.1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
     1.1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
            1.1.3.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
            1.1.3.2 เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
     1.1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์
            1.1.4.1 คลื่นและสมบัติของคลื่นแสง
            1.1.4.2 สเปกตรัม
            1.1.4.3 สเปกตรัมของธาตุและการแปลความหมาย
     1.1.5 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.1.6 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
1.2 ตารางธาตุ
     1.2.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.2.2 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
            1.2.2.1 ขนาดอะตอม 
            1.2.2.2 รัศมีไอออน 
            1.2.2.3 พลังงานไอออไนเซชัน 
            1.2.2.4 อิเล็กโทรเนกาติวิตี
            1.2.2.5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 
            1.2.2.6 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 
            1.2.2.7 เลขออกซิเดชัน
แบบฝึกหัดท้ายบท




บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1 พันธะไอออนิก
     2.1.1 การเกิดพันธะไอออนิก
     2.1.2 โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
     2.1.3 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
     2.1.4 พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
     2.1.5 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
     2.1.6 ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
2.2 พันธะโคเวลนต์
     2.2.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์
     2.2.2 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
     2.2.3 โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
     2.2.4 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
     2.2.5 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
     2.2.6 แนวคิดเกี่ยวกับเรโซแนนซ์
     2.2.7 รูปร่างโมเลกุล
     2.2.8 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
     2.2.9 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
     2.2.10 สารโครงผลึกร่างตาข่าย
2.3 พันธะโลหะ
     2.3.1 สมบัติของโลหะ
แบบฝึกหัดท้ายบท




บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
     3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA และ IIA
     3.2.2 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA
3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
3.4 ธาตุแทรนซิชัน
     3.4.1 สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.2 สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.3 สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.1 การเกิดกัมมันตรังสี
     3.6.2 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.3 ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.4 ปฏิกิริยานิวเคลียร์
     3.6.5 การตรวจสอบสารกัมมันตรังสีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี
3.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
     3.8.1 ธาตุอะลูมิเนียม
     3.8.2 ธาตุแคลเซียม
     3.8.3 ธาตุทองแดง
     3.8.4 ธาตุโครเมียม
     3.8.5 ธาตุเหล็ก
     3.8.6 ธาตุไอโอดีน
     3.8.7 ธาตุไนโตรเจน
     3.8.8 ธาตุออกซิเจน
     3.8.9 ธาตุฟอสฟอรัส
     3.8.10 ธาตุซิลิคอน
     3.8.11 ธาตุสังกะสี
     3.8.12 ธาตุเรเดียม
แบบฝึกหัดท้ายบท


ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books