คำมูล


ผู้สอน
นาง สุพิชญา พันธุ์สุภะ
เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 11 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
คำมูล

รหัสวิชา
5391

สถานศึกษา
โรงเรียนน้ำหนาววิทยาคม

คำอธิบายวิชา

 

คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

1.               ประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย เช่น จิ้งหรีด จะเห็นว่าพยางค์ " จิ้ง " และ " หรีด " ต่างก็ไม่มีความหมาย

2.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียงบางพยางค์ เช่น กิริยา จะเห็นว่าพยางค์ " ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว

3.               ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย แต่ความหมายของคำนั้นไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์เหลืออยู่เลย เช่น นารี จะเห็นว่าพยางค์ " นา " มีความหมายเกี่ยวกับที่นา ที่ชาวนาทำนากัน แต่สำหรับ " รี " ก็มีความหมายไปในทางที่มีรูปร่างไม่กลม ไม่ยาว เรียกว่า รูปวงรี แต่เมื่อรวม " นา " กับ " รี " เข้าด้วยกัน คือ นารี แล้วจะแปลว่า ผู้หญิง ซึ่งความหมายของ นารี ไม่เกี่ยวเนื่องกับความหมายของพยางค์ " นา "และ " รี " เลย นอกจากนี้ คำมูลคำเดียวในภาษาไทยอาจมีความหมายได้หลายอย่าง เช่นตัวอย่างที่ 1 นกเกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึ่ง

[แก้] คำที่สร้างจากคำมูล

คำที่เกิดขึ้นโดยการสร้างคำจากคำมูล จะแบ่งตามรูปลักษณะได้ดังนี้

1.               คำประสม

2.               คำซ้อน

3.               คำซ้ำ

4.               คำสมาส – สนธิ

 คำมูล คือ คำที่เกิดจากการประสมของโครงสร้างคำและมีความหมาย ผู้ฟังและผู้อ่านฟังแล้วอ่านแล้วเข้าใจว่าหมายถึงอะไร หรือสิ่งใด หรืออย่างไร คำนั้นจะเป็นคำไทย หรือคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้

คำมูลแต่ละคำจะมีความหมาย คำมูลคำหนึ่งมักมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่มีอยู่บ้างที่คำคำเดียว รูปลักษณ์อย่างเดียวมีหลายความหมาย เช่น ติด มีความหมายว่า ข้องอยู่ ไปไม่ได้ เกาะอยู่ ทำให้แน่น ฯลฯ หรือคำหลายคำมีรูปลักษณ์หลายอย่างแต่มีความหมายอย่างเดียว เช่น สตรี นารี ยุพา กัญญา หมายถึง ผู้หญิง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะอาจเป็นคำไทยดั้งเดิมหรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได้ และจะเป็นคำ " พยางค์ " เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

       ชนิดของคำมูล

        คำมูลแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1.               คำมูลพยางค์เดียว เช่น เพลง,ชาม,พ่อ,ยืน,หิว,ยิ้ม,สุข,ใน ( คำไทยแท้ ) ฟรี,ไมถ์,ธรรม ( คำที่มาจากภาษาอื่น )

2.               คำมูลหลายพยางค์ เป็นคำหลายพยางค์ เมื่อแยกแต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ แต่ความหมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกล่าวได้ว่า คำมูล คือคำ


ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books