วิทยาศาสตร์ ป.4


ผู้สอน
นาง สุกัญญา จันทร์เพ็ญ
เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 11 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
วิทยาศาสตร์ ป.4

รหัสวิชา
4354

สถานศึกษา
โรงเรียนระแงะ

คำอธิบายวิชา

 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งทีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำเลียง

   และปากใบของพืช

 

2.อธิบายน้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

   แสงและคลอโรฟิลล์  เป็นปัจจัยที่จำเป็น

   บางประการต่อการเจริญเติบโต และการ

   สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

 

3.ทดลองและอธิบายการตอบสนองของ

   พืช ต่อแสง  เสียง และการสัมผัส

 

4.อธิบายพฤติกรรมของสัตว์  ที่ตอบ

   สนองต่อแสง  อุณหภูมิ  การสัมผัสและ

   นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

-ภายในลำต้นของพืชมีท่อลำเลียงเพื่อลำเลียงน้ำและอาหาร และในใบมีปากใบทำหน้าที่คายน้ำ

 

-ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่  น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิลล์

 

 

-พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสียง และการสัมผัสซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก

 

-พฤติกรรมของสัตว์ เป็นการแสดงออกของสัตว์ในลักษณะต่างๆ เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง  อุณหภูมิ  การสัมผัส

-นำความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อม  ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์และเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

 

 

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต  ความหลากหลายทางชีวภาพ  การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ  การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น  ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร  ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

 

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร  การเกิดสารละลาย  การเกิดปฏิกิริยาเคมี  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า  แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง

และมีคุณธรรม

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ  มีกระบวนการ

สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 5 : พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต  การเปลี่ยนรูปพลังงาน  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  ผลของการใช้พลังงานของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด

2.ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ

3.ทดลองและจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง

-แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดทุกทิศทางและเคลื่อนที่เป็นแนวตรง

-แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของแสง โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

-เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน  จะผ่านวัตถุแต่ละชนิดได้ต่างกัน ทำให้จำแนกวัตถุออกเป็น

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

 

 

4.ทดลองและอธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสสองชนิด

 

5.ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

6.ทดลองและอธิบายแสงขาว ประกอบด้วยแสงสีต่างๆ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

ตัวกลางโปร่งใส  ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง

-เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างชนิดกันทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรียกการหักเหของแสง

-เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า  อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิดมีเซลล์สุริยะเป็นส่วนประกอบเช่น  เครื่องคิดเลข

-แสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการกระจายของแสงเป็นสีต่างๆ นำไปใช้อธิบายการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การเกิดรุ้ง

 

สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก  ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ  ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.สำรวจและอธิบายการเกิดดิน

 

2.ระบุชนิดและสมบัติของดินที่ใช้ปลูกพืชในท้องถิ่น

-ดินเกิดจากหินที่ผุพังผสมกับซากพืชซากสัตว์

 

-ดินมีส่วนประกอบของเศษหิน  อินทรียวัตถุ  น้ำ  และอากาศในสัดส่วนที่แตกต่างกันทำให้เกิดดินหลายชนิด พืชแต่ละชนิดเจริญเติบโตได้ดีในดินที่แตกต่างกัน  ดังนั้นการปลูกพืชจึงควรเลือกดินให้เหมาะสม

 

 

 

 

 

สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ

มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะและกาแล็กซี่  ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.สร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายลักษณะของระบบสุริยะ

 

 

 

-ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง และมีบริวารโคจรอยู่โดยรอบ คือ ดาวเคราะห์แปดดวง ดาวเคราะห์แคระดาวเคราะห์น้อย  ดาวเคราะห์หางและวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ ส่วนดาวตกและผีพุ่งไต้     อุกาบาต  อาจเกิดมาจากดาวหาง  ดาวเคราะห์น้อย หรือวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ

 

สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ

มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ และทรัพยากรธรรมชาติ  ด้านการเกษตรและการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์  ในการสืบเสาะหาความรู้  การแก้ปัญหา  รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน  สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี  สังคม และสิ่งแวดล้อมที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ

2.วางแผนการสังเกต  เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า  และคาดการณ์สิ่งที่พบจากการสำรวจตรวจสอบ

3.เลือก อุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ

4.บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณ นำเสนอผลสรุปผล

5.สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป

6.แสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

7.บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบอย่างตรงไปตรงมา

8.นำเสนอจัดแสดงผลงาน  โดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

-

 

 

-

 

 

 

-

 

-

 

-

 

-

 

-

 

-

 

 

 

 

 

 

 

 

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาวิทยาศาสตร์

รหัสวิชา   ว  14101                                                                 ชื่อวิชา    วิทยาศาสตร์  4  

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                    เวลา     80    ชั่วโมง / ปี

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

 

                ศึกษาวิเคราะห์  การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต  หน้าที่และส่วนประกอบของ  ราก  ลำต้น  ใบ  ดอก  ปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช  การสังเคราะห์ด้วยแสง  การตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของพืช  พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม   พลังงานแสง  การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดและเมื่อกระทบตัวกลางต่างกัน  การเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า  การกระจายของแสงขาวและการเกิดรุ้ง  การเกิดดินและสมบัติของดินในท้องถิ่น  ระบบสุริยะ  ส่วนประกอบของระบบสุริยะ  โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ  การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้  ความคิด  ความเข้าใจ  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถในการตัดสินใจ  นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 

    มีความมุ่งมั่นในการทำงาน  ใฝ่รู้ใฝ่เรียน  มีวินัย  มีความซื่อสัตย์ รักความเป็นไทย   อยู่อย่างพอเพียง  รักชาติ ศาสน์  กษัตริย์  รักความเป็นไทย  มีจิตสาธารณะ  และดำรงตนอยู่อย่างพอเพียงมีจิตวิทยาศาสตร์    จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

 

 

ตัวชี้วัด

ว 1.1       ป 4.1      ป4.2       ป4.3       ป4.4

ว 5.1       ป 4.1      ป4.2       ป4.3       ป4.4    ป4.5       ป4.6

ว 6.1       ป 4.1      ป4.2      

ว 7.1       ป 4.1     

8.1     ป 4.1     ป4.2       ป4.3       ป4.4       ป4.5       ป4.6       ป4.7       ป4.8

รวม    21   ตัวชี้วัด

 

 

 

 

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา     14101    สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่  4  เวลา  80  ชั่วโมง

ลำดับที่

ชื่อหน่วย

การเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

เวลา(ชั่วโมง)

น้ำหนักคะแนน

1

 

 

 

 

2

 

 

 

 

3

 

 

 

 

4

 

 

5

การดำรงชีวิตของพืช

 

 

 

การดำรงชีวิตของสัตว์

 

 

 

พลังงานแสง

 

 

 

 

ดินในท้องถิ่น

 

 

ระบบสุริยะ

1.1

ป4/1 , ป4/2

ป4/3 , ป4/4

 

 

1.1

ป 4/4

 

 

 

5.1

ป4/1 , ป4/2

ป4/3 , ป4/4

ป4/5 , ป4/6

 

6.1

ป4/1 , ป4/2

 

7.1

ป4/1

 

 

 

-ราก  ลำต้น  ใบ  ดอก

-การเจริญเติบโต

-การสังเคราะห์ด้วยแสง

-การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

 

-พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อ

  สิ่งแวดล้อม

-การนำพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้ประโยชน์

 

-การเคลื่อนที่ของแสง

-การเปลี่ยนแปลงพลังงานของแสง

-การกระจายของแสงขาว

 

 

-การเกิดดินและสมบัติของดิน

-ลักษณะและองค์ประกอบของดิน

 

-ลักษณะและส่วนประกอบในระบบ

  สุริยะ

 

-สอบปลายภาค

20

 

 

 

 

10

 

 

 

 

20

 

 

 

 

14

 

 

10

 

 

6

20

 

 

 

 

10

 

 

 

 

20

 

 

 

 

20

 

 

10

 

 

20

 

 

 

 

รวมตลอดปี/ภาค

80

100

 

หมายเหตุ : อักษรสีเขียว  หมายถึง หลักสูตรท้องถิ่นตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

 

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งทีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำเลียง

   และปากใบของพืช

 

2.อธิบายน้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

   แสงและคลอโรฟิลล์  เป็นปัจจัยที่จำเป็น

   บางประการต่อการเจริญเติบโต และการ

   สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

 

3.ทดลองและอธิบายการตอบสนองของ

   พืช ต่อแสง  เสียง และการสัมผัส

 

4.อธิบายพฤติกรรมของสัตว์  ที่ตอบ

   สนองต่อแสง  อุณหภูมิ  การสัมผัสและ

   นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

-ภายในลำต้นของพืชมีท่อลำเลียงเพื่อลำเลียงน้ำและอาหาร และในใบมีปากใบทำหน้าที่คายน้ำ

 

-ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่  น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงและคลอโรฟิลล์

 

 

-พืชมีการตอบสนองต่อแสง เสียง และการสัมผัสซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมภายนอก

 

-พฤติกรรมของสัตว์ เป็นการแสดงออกของสัตว์ในลักษณะต่างๆ เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า เช่น แสง  อุณหภูมิ  การสัมผัส

-นำความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ไปใช้ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อม  ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์และเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร

 

 

สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต  ความหลากหลายทางชีวภาพ  การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ  การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น  ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร  ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

 

 

สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร  การเกิดสารละลาย  การเกิดปฏิกิริยาเคมี  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า  แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง

และมีคุณธรรม

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ  มีกระบวนการ

สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

-

-

 

สาระที่ 5 : พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต  การเปลี่ยนรูปพลังงาน  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน  ผลของการใช้พลังงานของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้  สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

1.ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิด

2.ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงที่ตกกระทบวัตถุ

3.ทดลองและจำแนกวัตถุตามลักษณะการมองเห็นจากแหล่งกำเนิดแสง

-แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดทุกทิศทางและเคลื่อนที่เป็นแนวตรง

-แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของแสง โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

-เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน  จะผ่านวัตถุแต่ละชนิดได้ต่างกัน ทำให้จำแนกวัตถุออกเป็น

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4

 

 

4.ทดลองและอธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสสองชนิด

 

5.ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

6.ทดลองและอธิบายแสงขาว ประกอบด้วยแสงสีต่างๆ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

 

ตัวกลางโปร่งใส  ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง

-เมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างชนิดกันทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรียกการหักเหของแสง

-เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า  อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิดมีเซลล์สุริยะเป็นส่วนประกอบเช่น  เครื่องคิดเลข

-แสงขาวผ่านปริซึมจะเกิดการกระจายของแสงเป็นสีต่างๆ นำไปใช้อธิบายการเกิดปร<


ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books