ดนตรี ม.3


ผู้สอน
นางสาว วริษา ปลื้มฤดี
เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 2 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
ดนตรี ม.3

รหัสวิชา
57840

สถานศึกษา
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่

คำอธิบายวิชา

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระพื้นฐาน ดนตรี ช่วงชั้นที่ 3 รหัสวิชา ศ23101 จำนวนเวลา 40 คาบ (ชั่วโมง)

ศึกษาเรื่องเครื่องดนตรี วงดนตรีประเภทต่างๆ  หลักการขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิคทางดนตรี   การฟังเพลง  ความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อดนตรีที่มีต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน  นำมาใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆและชีวิตประจำวัน  เกิดความรับผิดชอบและระมัดระวังในการใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรี   

มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 : เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าทางดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ศ 2.2 : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีไทยที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

อัตราส่วนคะแนน รวม

  1. ความรู้ ( K) 40

  2. คุณธรรม จริยธรรม ( A) 10

  3. ทักษะกระบวนการ ( P ) 50

                             รวม           100
    

หน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระพื้นฐาน ดนตรี รหัสวิชา ศ…….. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ 3 หน่วย จำนวนเวลา 80 คาบ (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1 ดนตรีไทย 30 2 ขับร้องเพลงไทย - สากล 20 3 ดนตรีสากล 30 รวม 80

หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ดนตรีไทย เวลา 30 ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)

1.เข้าใจเรื่องเครื่องดนตรีชนิดต่างๆที่ใช้ในการผสมวงและทำให้เกิดวงดนตรีประเภทต่างๆ ระบุได้ว่าดนตรีมีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล

  1. มีความรับผิดชอบและระมัดระวังในการใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรี

  2. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ

4..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ

  1. แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี

  2. เข้าใจวิธีนำความรู้และหลักการทางดนตรีมาใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆและชีวิตประจำวัน 1.ประเภทของเครื่องดนตรี 2.วิธีใช้และการเก็บรักษา 3.วงดนตรีประเภทต่างๆ 4.ประวัติดนตรีไทย

  3. ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับมนุษย์

  4. บรรเลงอังกะลุง

  5. องค์ประกอบของดนตรี

หน่วยที่ 1 (ต่อ) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ดนตรีไทย เวลา 30 ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 7. เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อดนตรี

  1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล

หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ขับร้องเพลง ไทย-สากล เวลา 20 ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)

  1. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ

2..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ

  1. แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี

  2. เข้าใจวิธีนำความรู้และหลักการทางดนตรีมาใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆและชีวิตประจำวัน

  3. เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อดนตรี

  4. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล

  5. วิวัฒนาการของการขับร้องเพลงไทย

  6. หลักการขับร้องเพลงไทย 2.1 วิธีการเปล่งเสียง 2.2 การฝึกไล่เสียง 2.3 การใช้ลมหายใจ 2.4 การใช้คำในการขับร้อง

  7. เทคนิคในการขับร้องเพลงไทย 4.ความหมายของการขับร้องสากล 5.ประเภทของการขับร้อง 6.แหล่งกำเนิดเสียงของมนุษย์ 7.วิธีการขับร้อง 7.1 การหายใจ 7.2 ท่าทาง 7.3การออกเสียง 8.ลักษณะเสียงขับร้อง 9.การดูแลรักษาเสียง

หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ดนตรีสากล เวลา 30 ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง)

1.เข้าใจเรื่องเครื่องดนตรีชนิดต่างๆที่ใช้ในการผสมวงและทำให้เกิดวงดนตรีประเภทต่างๆ ระบุได้ว่าดนตรีมีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล

  1. มีความรับผิดชอบและระมัดระวังในการใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรี

  2. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ

4..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ

  1. แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี

  2. เข้าใจวิธีนำความรู้และหลักการทางดนตรีมาใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆและชีวิตประจำวัน 1.ประเภทของเครื่องดนตรี 2.วิธีใช้และการเก็บรักษา 3.วงดนตรีประเภทต่างๆ 4.ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับมนุษย์

  3. ประวัติดนตรีสากล

  4. เป่าขลุ่ย ( โน้ตสากล)

หน่วยที่ 3 (ต่อ) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ดนตรีสากล เวลา 30 ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 7. เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อดนตรี

  1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รหัสวิชา ศ ………….. รายวิชา ดนตรีพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 3 เวลา 80 คาบ/ชั่วโมง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คะแนน ลำดับความสำคัญ จำนวนเวลา ความรู้ ทักษะกระบวนการ เจตคติ 1.เข้าใจเรื่องเครื่องดนตรีชนิดต่างๆที่ใช้ในการผสมวงและทำให้เกิดวงดนตรีประเภทต่างๆ ระบุได้ว่าดนตรีมีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล

  1. มีความรับผิดชอบและระมัดระวังในการใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรี

  2. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ

4..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ

  1. แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี

6..เข้าใจวิธีนำความรู้และหลักการทางดนตรีมาใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆและชีวิตประจำวัน

  1. เข้าใจความเชื่อทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อดนตรี

  2. มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล 5

2

5

5

5

5

3	

5

20

5

5

5

10

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ดนตรี รหัสวิชา ศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชื่อหน่วย ดนตรีไทย ชื่อเรื่อง เครื่องดนตรีไทย เวลา 2 คาบ(ชั่วโมง)

  1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.เข้าใจเรื่องเครื่องดนตรีชนิดต่างๆที่ใช้ในการผสมวงและทำให้เกิดวงดนตรีประเภทต่างๆ ระบุได้ว่าดนตรีมีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล 2. มีความรับผิดชอบและระมัดระวังในการใช้และเก็บรักษาเครื่องดนตรี
  2. สาระการเรียนรู้

6 กระบวนการวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัดและประเมินผล

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

แผนการเรียนรู้ที่……………

ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

		     ลงชื่อ ……………………………..ผู้สอน

( นางสาววริษา ปลื้มฤดี ) ตำแหน่ง ครูชำนาญการ วันที่…….เดือน…………. พ.ศ. 25…..

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ดนตรี รหัสวิชา ศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชื่อหน่วย ดนตรีไทย ชื่อเรื่อง การผสมวงดนตรีไทย เวลา 2 คาบ(ชั่วโมง)

  1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เข้าใจเรื่องเครื่องดนตรีชนิดต่างๆที่ใช้ในการผสมวงและทำให้เกิดวงดนตรีประเภทต่างๆ ระบุได้ว่าดนตรีมีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกของบุคคล
  2. สาระการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ดนตรี รหัสวิชา ศ 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชื่อหน่วย ดนตรีไทย ชื่อเรื่อง การขับร้องเพลง เวลา 10 คาบ(ชั่วโมง)

  1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ 2..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ 3. แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี 4.มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล

  2. สาระการเรียนรู้

  1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 4.1 นักเรียนทุกคนศึกษาเรื่องการขับร้องเพลงในหัวข้อ ความหมาย ประเภท จากหนังสือเรียน และจดบันทึกความรู้ลงในสมุดของตนเอง 4.2 นักเรียนฝึกขับร้องเพลงที่ครูกำหนด โดยฝึกเป็นกลุ่ม 4.3 นักเรียนแสดงผลงานการฝึกขับร้องเพลง กิจกรรมสำคัญ , ประกวดแข่งขันระดับโรงเรียน 4.4 นักเรียนฝึกขับร้องเพลงที่นักเรียนเลือกเอง 4.5 นำเสนอบทเพลง โดยบอกชื่อเพลง ความหมาย และอารมณ์ของเพลง 4.6 ครูชี้แนะและวิจารณ์การขับร้องของนักเรียนเพื่อการปรับปรุงพัฒนา 5 สื่อการเรียนการสอน 5.1 หนังสือเรียนดนตรี เรื่อง การขับร้องเพลง 5.2 บทเพลงสำหรับฝึกขับร้อง (เพลงไทยเดิม ,พระราชนิพนธ์ , เพลงเทิดพระเกียรติ) 6 กระบวนการวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัดและประเมินผล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ดนตรี รหัสวิชา ศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชื่อหน่วย ดนตรีไทย ชื่อเรื่อง อังกะลุง เวลา 26 คาบ(ชั่วโมง)

  1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ขับร้องและบรรเลงดนตรีโดยเลือกใช้องค์ประกอบและเทคนิค ทางดนตรีให้ได้ตามความต้องการ 2..แสดงออกถึงความรู้สึกในการรับรู้ความไพเราะของดนตรีจากหลักการพื้นฐาน ประสบการณ์และความสนใจ 3..แสดงความคิดเห็นและจำแนกความแตกต่างเรื่ององค์ประกอบของดนตรี ความไพเราะของเสียงดนตรีที่ตนชื่นชอบตามหลักการดนตรี 4.มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรีที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล
  2. สาระการเรียนรู้
  1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 4.1 นักเรียนทุกคนศึกษาเรื่องประวัติอังกะลุง ลักษณะอังกะลุง วิธีใช้อังกะลุง ทฤษฎีโน้ตเพลงไทย โดยสืบค้นจาก Internet หนังสือเรียน และจดบันทึกความรู้ลงในสมุดของตนเอง 4.2 นักเรียนฝึกเคาะจังหวะ อ่านโน้ตเพลงไทย และเขียนโน้ตเพลงไทย 4.3 นักเรียนฝึกเขย่าอังกะลุง โดยครูให้คำแนะนำ และสาธิต
    4.4 นักเรียนเขย่าอังกะลุงในเพลงต่างๆ โดยมีครูให้ข้อเสนอแนะ แนะนำ เพื่อปรับปรุงพัฒนา 4.5 นำเสนอการแสดงอังกะลุงในงานกิจกรรมต่างๆ
  2. สื่อการเรียนการสอน 5.1 หนังสือเรียนดนตรี เรื่อง การขับร้องเพลง 5.2 เครื่องคอมพิวเตอร์ Internet 5.3 แผนภูมิโน้ตเพลงสำหรับฝึกอังกะลุง
  3. กระบวนการวัดและประเมินผล 6.1 วิธีการวัดและประเมินผล
  1. แหล่งการเรียนรู้ 7.1 ห้องปฏิบัติการดนตรีไทย 7.2 ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ 7.3 หนังสือเรียนดนตรี เรื่อง อังกะลุง

ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books