การสร้างแบบจำลองสามมิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์


ผู้สอน
นางสาว ปนัดดา พนมศักดิ์
เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 11 ปี ที่แล้ว

ชื่อวิชา
การสร้างแบบจำลองสามมิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

รหัสวิชา
6273

สถานศึกษา
โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย

คำอธิบายวิชา

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา การสร้างแบบจำลอง ๓ มิติ               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖        รหัสวิชา  ง๓๐๒๐๘  

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี                   จำนวน  ๒  คาบ/สัปดาห์/ภาค  

๑.๐  หน่วยกิต   คะแนนระหว่างเรียน ๘๐ : ๒๐


คำอธิบายรายวิชา

              ศึกษาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมสำหรับการสร้างแบบจำลอง ๓ มิติ (Three-Dimension Model) เพื่อใช้ในการสร้างแบบจำลอง  โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๓ มิติ และไปสู่การนำเสนองานอย่างมืออาชีพ รู้จักการใช้งานเบื้องต้นของโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างแบบจำลอง ๓ มิติอย่างง่ายได้ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมการสร้างงาน  ได้แก่ การกำหนดค่าเริ่มต้นการใช้งานของโปรแกรมหลักการทำงานของโปรแกรม  การใช้เครื่องมือต่างๆ ในการขึ้นโมเดล ๓ มิติ พร้อมทั้งเทคนิคพิเศษอื่นๆ ในการจัดทำโมเดล ๓ มิติขึ้น รวมถึงการจัดทำวิดีโอภาพเคลื่อนไหว (Animation)และเรียนรู้การใช้โปรแกรมเสริม (Plug In) เพื่อการนำเสนองานอย่างมืออาชีพ  โดยฝึกปฏิบัติการสร้างโมเดลแบบจำลองด้วยตนเอง การสร้างพื้นผิววัตถุ  รวมทั้งการจัดแสงธรรมชาติตามช่วงเวลาเพื่อความสมจริง

              เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสร้างแบบจำลอง ๓ มิติได้อย่างถูกต้อง รวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้  และสามารถใช้เทคโนโลยีให้เกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างถูกวิธี มีคุณธรรม และจริยธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด  ง ๒.๑, ง ๓.๑


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

              ๑.  นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ที่มา และความสำคัญของการสร้างแบบจำลอง ๓ มิติได้

              ๒.  นักเรียนรู้จักและสามารถอธิบายหน้าที่ของแถบคำสั่งต่างๆ พื้นที่การทำงาน กลุ่มเครื่องมือ และส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของโปรแกรม Google SketchUp ได้

              ๓.  นักเรียนสามารถปฏิบัติการใช้โปรแกรม Google SketchUp เพื่อสร้าง และปรับแต่งแบบจำลอง ๓ มิติได้

              ๔.  นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ แบบมืออาชีพ เพื่อการสร้างงานที่เสมือนจริงได้

              ๕.  นักเรียนสามารถปฏิบัติ และอธิบายขั้นตอนการนำ Google SketchUp ไปใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ ได้

 

โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม

รหัสวิชา  ง ๓๐๒๐๘ การสร้างแบบจำลอง ๓ มิติ 

  กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖    เวลา ๒ คาบ/สัปดาห์/ภาค     จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

	<td align="center"><p><b><span>ชื่อหน่วยการเรียน</span></b></p>
	<td align="center"><p><b><span>สาระสำคัญ</span></b></p>
	<td align="center"><p><b><span>เวลา (ชั่วโมง)</span></b></p>
	<td><p><b><span class="redactor-current-td">น้ำหนัก (คะแนน)</span></b></p>
<tr>
	<td align="center"><p><span>๑</span></p>
	<td><p><span>รู้จักโปรแกรมสร้างแบบจำลอง ๓ มิติ เพื่องานสถาปัตยกรรม</span></p>
	<td class=""><p><span>- ความหมายแบบจำลอง</span></p>

- ที่มาและความสำคัญ

	<td align="center"><p><span>๔</span></p>
	<td align="center"><p><span>๑๐</span></p>
<tr>
	<td align="center"><p><span>๒</span></p>
	<td><p><span>เกี่ยวกับโปรแกรม </span><span>Google SketchUp </span></p>
	<td><p><span>-</span> คุณสมบัติของโปรแกรม Google SketchUp</p>

- ความต้องการขั้นต่ำของระบบ

- รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม

- การเรียกใช้เมนูต่างๆ ของโปรแกรม

	<td align="center"><p><span>๘</span></p>
	<td align="center"><p><span>๒๐</span></p>
<tr>
	<td align="center"><p><span>๓</span></p>
	<td><p><span>การสร้างและปรับแต่งโมเดล ๓ มิติ ด้วยโปรแกรม </span><span>Google SketchUp</span></p>
	<td class=""><p><span>- กำหนดค่าต่างๆ ใน </span>System Preferences</p>

- สร้างโมเดลด้วยเครื่องมือกลุ่ม Principal และ Modification

- กำหนดค่าด้วยเครื่องมือกลุ่ม Construction

- เทคนิคการใช้เม้าส์ใน Google SketchUp

- การใช้คีย์ลัดพื้นฐานและการสร้างคีย์ลัด

- กำหนด Date และ Time เพื่อสร้าง  Shadows เสมือนจริง

	<td class="redactor-current-td" align="center"><p><span>๑๒</span></p>
	<td align="center"><p><span>๓๐</span></p>
<tr>
	<td align="center"><p><span>๔</span></p>
	<td><p><span>เทคนิคพิเศษอื่นๆ ในการจัดการโมเดล</span></p>
	<td><p><span>- เรียกใช้โมเดลจาก ๓</span><span>d Warehouse</span></p>

- การสร้างภาพ Animation

- การใช้  Plug In

- หลักเกณฑ์และวิธีการอัพโหลดโมเดลไปยัง ๓d Warehouse และ Google Earth

	<td align="center"><p><span>๑๒</span></p>
	<td align="center"><p><span>๓๐</span></p>
<tr>
	<td class="" align="center"><p><span>๕</span></p>
	<td><p><span>การนำ </span><span>Google SketchUp <span>ไปใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่น</span></span></p>
	<td><p><span>- ขั้นตอนและวิธีการ</span></p>
	<td align="center"><p><span>๔</span></p>
	<td align="center"><p><span>๑๐</span></p>
<tr>
	<td><blockquote class="redactor-current-td"><p class="redactor-current-td"><br></p></blockquote>
	<td class="" align="center"><p><span class="redactor-current-td">๔๐</span></p>
	<td class="" align="center"><p class="redactor-current-td"><span>๑๐๐</span></p>

ลำดับที่

ขอบข่ายผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

สาระเพิ่มเติม  รหัสวิชา  ง ๓๐๒๐๘ รายวิชา  การสร้างแบบจำลอง ๓ มิติด้วยคอมพิวเตอร์

	<td align="center">

สาระการเรียนรู้

	<td align="center"><br></td>
</tr>

<tr>
	<td class="">๑. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ที่มา และความสำคัญของการสร้างแบบจำลอง ๓ มิติได้</td>

	<td>

- ความหมายแบบจำลอง

- รู้จักประเภทและซอฟแวร์สามมิติ

	<td><br></td>
</tr>

<tr>
	<td>

๒. นักเรียนรู้จักและสามารถอธิบายหน้าที่ของแถบคำสั่งต่างๆ พื้นที่การทำงาน กลุ่มเครื่องมือ และส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของโปรแกรม Google SketchUp ได้

	<td>

- คุณสมบัติของโปรแกรม Google SketchUp

- ความต้องการขั้นต่ำของระบบ

- รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม

- การเรียกใช้เมนูต่างๆ ของโปรแกรม

<tr>
	<td>

๓. นักเรียนสามารถปฏิบัติการใช้โปรแกรม Google SketchUp เพื่อสร้าง และปรับแต่งแบบจำลอง ๓ มิติได้

	<td><p><span>- กำหนดค่าต่างๆ ใน </span>System Preferences</p>

- สร้างโมเดลด้วยเครื่องมือกลุ่ม Principal และ Modification

- กำหนดค่าด้วยเครื่องมือกลุ่ม Construction

- เทคนิคการใช้เม้าส์ใน Google SketchUp

- การใช้คีย์ลัดพื้นฐานและการสร้างคีย์ลัด

- กำหนด Date และ Time เพื่อสร้าง  Shadows เสมือนจริง

<tr>
	<td>

๔. นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ แบบมืออาชีพ เพื่อการสร้างงานที่เสมือนจริงได้

	<td><p><span>- เรียกใช้โมเดลจาก ๓</span><span>d Warehouse</span></p>

- การสร้างภาพ Animation

- การใช้  Plug In

- หลักเกณฑ์และวิธีการอัพโหลดโมเดลไปยัง ๓d Warehouse และ Google Earth

<tr>
	<td>

๕. นักเรียนสามารถปฏิบัติ และอธิบายขั้นตอนการนำ Google SketchUp ไปใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ ได้

	<td>

- ขั้นตอนและวิธีการ

ผลการเรียนรู้

ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2566)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)
GotoKnow
ClassStart Books